จ๋ะ ๒ หมายถึง ว. เสียงประกอบคําเรียก เช่น แม่จ๋ะ (เป็นเสียงสั้นจากคํา จ๋า).
(กลอน) ว. เสียงขบฟันกรอด ๆ, ทําอาการเกรี้ยวกราด, เช่น ขบฟันขึงเขียวจะกรัจจะกราจคึกคาม. (สุธนู), เขียนเป็น จะกรัดจะกราด ก็มี.
ว. สีดํา, โบราณเขียนเป็น จกรูน ก็มี เช่น ช้างสารชํานิเมามัน หลากหลากหลายพรรณ แลหน้าจกรูนแสงนิล. (อนิรุทธ์).
ว. สีดํา, โบราณเขียนเป็น จกรูน ก็มี เช่น ช้างสารชํานิเมามัน หลากหลากหลายพรรณ แลหน้าจกรูนแสงนิล. (อนิรุทธ์).
ว. ตะกรุมตะกราม, ซุ่มซ่าม.
ว. ตะกละ, ตะกลาม, มักกิน, กินไม่เลือก, เห็นแก่กิน, มักใช้รวมกันว่าจะกละจะกลาม ก็มี, ตะกละตะกลาม ก็ว่า, โดยปริยายหมายความว่าอยากได้มาก ๆ.
ว. ตะกละ, ตะกลาม, มักกิน, กินไม่เลือก, เห็นแก่กิน, มักใช้รวมกันว่าจะกละจะกลาม ก็มี, ตะกละตะกลาม ก็ว่า, โดยปริยายหมายความว่าอยากได้มาก ๆ.
น. ชื่อผีชนิดหนึ่ง เชื่อกันว่ามีรูปเป็นแมว อยู่ในจําพวกผีป่า หมอผีชาวป่าเลี้ยงไว้ใช้ไปทําร้ายศัตรู. (สยามสมาคม).